สถิติ
เปิดเมื่อ22/05/2012
อัพเดท23/10/2012
ผู้เข้าชม29834
แสดงหน้า32652
บทความ
การเมือง/สังคม/ประวัติศาสตร์
ตำแหน่งข้าราชการเมือง
ลัทธิวีรคติ
ฟาสซิสต์คืออะไร
สันติอโศก
สงครามกลางเมืองในกัมพูชา1
สงครามกลางเมืองในกัมพูชา2
ความรุนแรงกับนักการเมือง
พรรคการเมืองไทย
กฎหมาย
โมฆียะและโมฆะต่างกันอย่างไร
ก.พ.ค.คืออะไร
อำนาจนายกของไทย
จำแนกกฎหมาย
กิจกรรมพัฒนาชุมชน
กิจกรรมชุมชน4
กิจกรรมชุมชน3
กิจกรรมชุมชน2
กิจกรรมชุมชน
กลอนสด
กลอนสด
การศึกษา
คุยโม้โอ้อวด
คลังบทเพลง
บทวิเคราะห์/ความคิดเห็น
เทคโนโลยีและคอมพิวเตอร์
รวมเว็บหารายได้ผ่านเน็ต
การอ่านค่ารีซิสเตอร์
การเกษตร-ปศุสัตว์
รัฐธรรมนูญไทยฉบับที่1ฉบับเต็ม
ตำแหน่งข้าราชการพลเรือน
ปฎิทิน
April 2025
Sun Mon Tue Wed Thu Fri Sat
  
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
   




ก.พ.ค.คืออะไร

อ่าน 496 | ตอบ 0

ก.พ.ค. คืออะไรโดย Koungwhal Thongnetra ·

 

 

 

ปวดหัว กลุ้มใจ เป็นทุกข์ ร้อง ก.พ.ค. (ไม่ได้ )

 

 

 

 

ก.พ.ค. หรือคณะกรรมการพิทักษ์ระบบคุณธรรม ถูกตั้งขึ้น ตาม พ.ร.บ ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551

 

 

ตามมาตรา 24 ของพ.ร.บ.นี้ ให้มี ก.พ.ค.จำนวน 7 คน

 

โดย ก.พ.ค. ทั้ง 7 คนถูกคัดเลือกมาจาก คณะกรรมการ คัดเลือก ก.พ.ค. ที่มีประธานศาลปกครอง สูงสุดเป็นประธาน รองประธานศาลฎีกาอีก 1 คน กรรมการที่ ก.พ.คัดเลือกมาอีก 1 คนและให้เลขา ก.พ.เป็นเลขากรรมการชุดนี้ ทำหน้าที่คัดเลือก ก.พ.ค.จำนวน 7 คน และให้เลขา ก.พ.เป็นเลขา ก.พ.ค.

คุณสมบัติ พอสังเขป มีสัญชาติไทย อายุไม่ต่ำกว่าสี่สิบห้าปี มีวาระ ดำรง ตำแหน่ง 6 ปี และเป็นได้วาระเดียว ก.พ.ค.ต้องทำงานเต็มเวลา

 

 

อำนาจหน้าที่ ก.พ.ค.

 

 

--- เสนอแนะต่อ ก.พ.หรือองค์กรกลางบริหารงานบุคคลอื่นเพื่อให้ดำเนินการหรือปรับปรุงนโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคลในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการพิทักษ์ระบบคุณธรรม

----พิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ์ตามมาตรา 114

----พิจารณาวินิจฉัยเรื่องร้องทุกข์ ตามมาตรา 123

----พิจารณาเรื่องคุ้มครองระบบคุณธรรม ตามมาตรา 126

----ออกกฎ ก.พ.ค.ระเบียบหลักเกณฑ์และวิธีการเพื่อปฏิบัติการ ตาม พร.บ.นี้

----แต่งตั้งบุคคลซึ่งมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามที่ ก.พ.ค. กำหนด เพื่อเป็นกรรมการวินิจฉัย อุทธรณ์ หรือ กรรมการวินิจฉัยร้องทุกข์

 

แต่ทั้งนี้ กฎเกณฑ์ต่างๆมีระเบียบขั้นตอน การร้องทุกข์ การอุทธรณ์ และเกี่ยวข้องกับกฎหมายอีกหลายฉบับ ผู้ที่จะใช้สิทธิร้อง ต้องศึกษากฎหมายให้ถ่องแท้ชัดเจนเสียก่อน


ความคิดเห็นของผู้เข้าชม
ชื่อผู้แสดงความคิดเห็น :
สถานะ : รหัสผ่าน :
ลิงค์ที่เกี่ยวข้อง :
รหัสความปลอดภัย :